meple
โอลิมปิกวิชาการ
วันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่10
Google Scholar Focuses on Research-Quality Content
Despite all the warnings from experienced information professionals, many scholars, researchers, and students continue to make Google their first stop for locating research information. Google has now introduced a beta service called Google Scholar (http://scholar.google.com) that segregates research quality sources and provides special search features and result displays to accommodate scholars' information needs. While not removing any sites from the main Google service, Google Scholar enables specific searches of scholarly literature, including peer-reviewed papers, theses, books, pre-prints, abstracts, and technical reports. Content includes a range of publishers and aggregators with whom Google already has standing arrangements, e.g., the Association for Computing Machinery, IEEE, OCLC's Open WorldCat library locator service, etc. Result displays will show different version clusters, citation analysis, and library location (currently books only). Although claiming coverage "from all broad areas of research," early evaluation seems to show a clear emphasis on science and technology, rather than the arts, humanities, or social sciences.
Anurag Acharya, principal engineer for Google Scholar, stated that the goal of the service was to "make it easier to find content, open access or not. The first step in any research is to find the information you need to learn and then build on that. Not being able to find information hinders scholarly endeavor."
Despite all the warnings from experienced information professionals, many scholars, researchers, and students continue to make Google their first stop for locating research information. Google has now introduced a beta service called Google Scholar (http://scholar.google.com) that segregates research quality sources and provides special search features and result displays to accommodate scholars' information needs. While not removing any sites from the main Google service, Google Scholar enables specific searches of scholarly literature, including peer-reviewed papers, theses, books, pre-prints, abstracts, and technical reports. Content includes a range of publishers and aggregators with whom Google already has standing arrangements, e.g., the Association for Computing Machinery, IEEE, OCLC's Open WorldCat library locator service, etc. Result displays will show different version clusters, citation analysis, and library location (currently books only). Although claiming coverage "from all broad areas of research," early evaluation seems to show a clear emphasis on science and technology, rather than the arts, humanities, or social sciences.
Anurag Acharya, principal engineer for Google Scholar, stated that the goal of the service was to "make it easier to find content, open access or not. The first step in any research is to find the information you need to learn and then build on that. Not being able to find information hinders scholarly endeavor."
วันเสาร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่9
google scholar
Today Google Scholar, the search service for academic literature, has launched a blog.
The fact of Google Scholar having proven popular enough to merit a blog is surely an indication of the importance of Web and Internet technology to the academic world at large. This is a trend ReadWriteWeb has long recognized.
Google Scholar allows interested users to make a search on, say "oil spills," and receive research articles and patents or legal opinions and journals. The nature of the results are very different than a standard Google Web or news search.
The blog's first post covered the Google Scholar Alerts. The post was written by Anurag Acharya, who certainly has best job title in the entirety of the Googleplex: "Distinguished Engineer."
Today Google Scholar, the search service for academic literature, has launched a blog.
The fact of Google Scholar having proven popular enough to merit a blog is surely an indication of the importance of Web and Internet technology to the academic world at large. This is a trend ReadWriteWeb has long recognized.
Google Scholar allows interested users to make a search on, say "oil spills," and receive research articles and patents or legal opinions and journals. The nature of the results are very different than a standard Google Web or news search.
The blog's first post covered the Google Scholar Alerts. The post was written by Anurag Acharya, who certainly has best job title in the entirety of the Googleplex: "Distinguished Engineer."
วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่8
Google Scholar กับ Prince of Songkhla U. (มี h)
Google scholar เป็นบริการที่ Google มีให้เพื่อการค้นหาว่า publications ได้รับ citations เท่าไร และ publications ใดบ้างที่อ้างอิง publication นั้นๆ ค่ะ
และในสูตรคำนวณของ Webometrics นั้น ให้น้ำหนักคะแนน Google scholar ไว้ที่ 15% ค่ะ
ตอนที่ที่ประชุม Webometrics กำลังหารือกันเรื่องวิธีการเพิ่มคะแนนในส่วนของ Google Scholar ดิฉันได้ลองค้นดูใน Google scholar โดยใช้คำว่า Prince of Songkla University และ Prince of Songkhla University ค่ะ
ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเมื่อพิมพ์ "Prince of Songkla University" แบบไม่มี h คือ 5,430 4,600 ค่ะ
และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเมื่อพิมพ์ "Prince of Songkhla University" แบบมี h คือ 2,870 526 ค่ะ
เราเสียคะแนนส่วน 2,870 ไปเฉยๆ เลยค่ะ เพราะเราพิมพ์ชื่อมหาวิทยาลัยผิดไปค่ะ
Big Typo แต่การพิมพ์ผิดไม่มีผลต่อการจัดอันดับของ Webometrics
Google scholar เป็นบริการที่ Google มีให้เพื่อการค้นหาว่า publications ได้รับ citations เท่าไร และ publications ใดบ้างที่อ้างอิง publication นั้นๆ ค่ะ
และในสูตรคำนวณของ Webometrics นั้น ให้น้ำหนักคะแนน Google scholar ไว้ที่ 15% ค่ะ
ตอนที่ที่ประชุม Webometrics กำลังหารือกันเรื่องวิธีการเพิ่มคะแนนในส่วนของ Google Scholar ดิฉันได้ลองค้นดูใน Google scholar โดยใช้คำว่า Prince of Songkla University และ Prince of Songkhla University ค่ะ
ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเมื่อพิมพ์ "Prince of Songkla University" แบบไม่มี h คือ 5,430 4,600 ค่ะ
และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเมื่อพิมพ์ "Prince of Songkhla University" แบบมี h คือ 2,870 526 ค่ะ
เราเสียคะแนนส่วน 2,870 ไปเฉยๆ เลยค่ะ เพราะเราพิมพ์ชื่อมหาวิทยาลัยผิดไปค่ะ
Big Typo แต่การพิมพ์ผิดไม่มีผลต่อการจัดอันดับของ Webometrics
วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่7
การสนับสนุนสำหรับสำนักพิมพ์ทางวิชาการ
Google และ Google Scholar สามารถเพิ่มการมองเห็นและการเข้าถึงเนื้อหาของคุณได้ทั่วโลก เราทำงานร่วมกับสำนักพิมพ์สำหรับข้อมูลวิชาการ เพื่อจัดทำดัชนีบทความ peer-reviewed วิทยานิพนธ์ ร่างบทความ บทคัดย่อ และรายงานทางเทคนิคจากการค้นคว้าวิจัยทุกสาขา และทำให้สามารถค้นหาได้บน Google และGoogle Scholar หน้านี้มีนโยบายและข้อมูลทางเทคนิคสำหรับสำนักพิมพ์และแวดวงวิชาการ
นโยบายของสำนักพิมพ์
มีการจัดกลุ่มเวอร์ชันต่างๆ ของผลงานหนึ่งชิ้นเพื่อทำให้อยู่ในอันดับที่สูงขึ้น ในการค้นคว้าวิจัยหลายสาขา เวอร์ชันต่างๆ ของผลงานหนึ่งชิ้นอาจปรากฏเป็นร่างบทความและบทความจากการประชุมก่อนที่จะได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความจากวารสาร เวอร์ชันเบื้องต้นของผลงานเหล่านี้มักมีการอ้างอิงถึงนอกเหนือจากเวอร์ชันวารสารที่เชื่อถือได้ จำนวนการอ้างอิงถึงผลงานหนึ่งๆ เป็นส่วนสำคัญในการกำหนดอันดับในผลการค้นหาของ Google Scholar เวอร์ชันที่มีการจัดกลุ่มทำให้เราสามารถเก็บรวบรวมการอ้างอิงทั้งหมดถึงผลงานทุกเวอร์ชัน ในทางปฏิบัติ สิ่งนี้สามารถปรับปรุงตำแหน่งของบทความในผลการค้นหาได้อย่างมาก
หากมีการจัดทำดัชนี ฉบับเต็มของสำนักพิมพ์ถือเป็นเวอร์ชันหลัก เมื่อมีการจัดทำดัชนีผลงานในเวอร์ชันต่างๆ เราจะเลือกฉบับเต็มที่เชื่อถือได้ จากสำนักพิมพ์เป็นเวอร์ชันหลัก เราจะทำสิ่งนี้ได้ต่อเมื่อเราสามารถระบุ รวบรวมข้อมูล และ ประมวลผลเวอร์ชันฉบับเต็มของสำนักพิมพ์’ได้สำเร็จ
สำนักพิมพ์มีอำนาจควบคุมการเข้าถึงบทความของตน เราทำงานร่วมกับสำนักพิมพ์เพื่อรักษาอำนาจควบคุมของสำนักพิมพ์เหนือการเข้าถึงเนื้อหาของตน และจะใช้แคชกับบทความที่ไม่มีการควบคุมการเข้าถึงเท่านั้น สำนักพิมพ์สามารถช่วยเหลือเราได้โดยระบุภูมิภาคของไซต์ที่มีการควบคุมการเข้าถึง สำหรับรายละเอียด โปรด คลิกที่นี่
ผู้ใช้ Google จะต้องได้รับบทคัดย่อที่สมบูรณ์หนึ่งรายการเป็นอย่างน้อย นี่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งในโปรแกรมการจัดทำดัชนีของเรา สำหรับบทความที่มีการจำกัดการเข้าถึง บทคัดย่อที่สมบูรณ์ที่เขียนโดยผู้เขียนจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกจากผลลัพธ์ได้ว่าบทความใดเป็นไปได้ที่จะมีข้อมูลที่ต้องการมากที่สุด
เราจะตอบกลับการร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ เรามีนโยบายในการ ตอบกลับต่อการแจ้งข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย Digital Millennium Copyright Act.
Google และ Google Scholar สามารถเพิ่มการมองเห็นและการเข้าถึงเนื้อหาของคุณได้ทั่วโลก เราทำงานร่วมกับสำนักพิมพ์สำหรับข้อมูลวิชาการ เพื่อจัดทำดัชนีบทความ peer-reviewed วิทยานิพนธ์ ร่างบทความ บทคัดย่อ และรายงานทางเทคนิคจากการค้นคว้าวิจัยทุกสาขา และทำให้สามารถค้นหาได้บน Google และGoogle Scholar หน้านี้มีนโยบายและข้อมูลทางเทคนิคสำหรับสำนักพิมพ์และแวดวงวิชาการ
นโยบายของสำนักพิมพ์
มีการจัดกลุ่มเวอร์ชันต่างๆ ของผลงานหนึ่งชิ้นเพื่อทำให้อยู่ในอันดับที่สูงขึ้น ในการค้นคว้าวิจัยหลายสาขา เวอร์ชันต่างๆ ของผลงานหนึ่งชิ้นอาจปรากฏเป็นร่างบทความและบทความจากการประชุมก่อนที่จะได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความจากวารสาร เวอร์ชันเบื้องต้นของผลงานเหล่านี้มักมีการอ้างอิงถึงนอกเหนือจากเวอร์ชันวารสารที่เชื่อถือได้ จำนวนการอ้างอิงถึงผลงานหนึ่งๆ เป็นส่วนสำคัญในการกำหนดอันดับในผลการค้นหาของ Google Scholar เวอร์ชันที่มีการจัดกลุ่มทำให้เราสามารถเก็บรวบรวมการอ้างอิงทั้งหมดถึงผลงานทุกเวอร์ชัน ในทางปฏิบัติ สิ่งนี้สามารถปรับปรุงตำแหน่งของบทความในผลการค้นหาได้อย่างมาก
หากมีการจัดทำดัชนี ฉบับเต็มของสำนักพิมพ์ถือเป็นเวอร์ชันหลัก เมื่อมีการจัดทำดัชนีผลงานในเวอร์ชันต่างๆ เราจะเลือกฉบับเต็มที่เชื่อถือได้ จากสำนักพิมพ์เป็นเวอร์ชันหลัก เราจะทำสิ่งนี้ได้ต่อเมื่อเราสามารถระบุ รวบรวมข้อมูล และ ประมวลผลเวอร์ชันฉบับเต็มของสำนักพิมพ์’ได้สำเร็จ
สำนักพิมพ์มีอำนาจควบคุมการเข้าถึงบทความของตน เราทำงานร่วมกับสำนักพิมพ์เพื่อรักษาอำนาจควบคุมของสำนักพิมพ์เหนือการเข้าถึงเนื้อหาของตน และจะใช้แคชกับบทความที่ไม่มีการควบคุมการเข้าถึงเท่านั้น สำนักพิมพ์สามารถช่วยเหลือเราได้โดยระบุภูมิภาคของไซต์ที่มีการควบคุมการเข้าถึง สำหรับรายละเอียด โปรด คลิกที่นี่
ผู้ใช้ Google จะต้องได้รับบทคัดย่อที่สมบูรณ์หนึ่งรายการเป็นอย่างน้อย นี่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งในโปรแกรมการจัดทำดัชนีของเรา สำหรับบทความที่มีการจำกัดการเข้าถึง บทคัดย่อที่สมบูรณ์ที่เขียนโดยผู้เขียนจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกจากผลลัพธ์ได้ว่าบทความใดเป็นไปได้ที่จะมีข้อมูลที่ต้องการมากที่สุด
เราจะตอบกลับการร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ เรามีนโยบายในการ ตอบกลับต่อการแจ้งข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย Digital Millennium Copyright Act.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)