วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่10

Google Scholar Focuses on Research-Quality Content

Despite all the warnings from experienced information professionals, many scholars, researchers, and students continue to make Google their first stop for locating research information. Google has now introduced a beta service called Google Scholar (http://scholar.google.com) that segregates research quality sources and provides special search features and result displays to accommodate scholars' information needs. While not removing any sites from the main Google service, Google Scholar enables specific searches of scholarly literature, including peer-reviewed papers, theses, books, pre-prints, abstracts, and technical reports. Content includes a range of publishers and aggregators with whom Google already has standing arrangements, e.g., the Association for Computing Machinery, IEEE, OCLC's Open WorldCat library locator service, etc. Result displays will show different version clusters, citation analysis, and library location (currently books only). Although claiming coverage "from all broad areas of research," early evaluation seems to show a clear emphasis on science and technology, rather than the arts, humanities, or social sciences.
Anurag Acharya, principal engineer for Google Scholar, stated that the goal of the service was to "make it easier to find content, open access or not. The first step in any research is to find the information you need to learn and then build on that. Not being able to find information hinders scholarly endeavor."

วันศุกร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่9

google scholar
Today Google Scholar, the search service for academic literature, has launched a blog.

The fact of Google Scholar having proven popular enough to merit a blog is surely an indication of the importance of Web and Internet technology to the academic world at large. This is a trend ReadWriteWeb has long recognized.

Google Scholar allows interested users to make a search on, say "oil spills," and receive research articles and patents or legal opinions and journals. The nature of the results are very different than a standard Google Web or news search.

The blog's first post covered the Google Scholar Alerts. The post was written by Anurag Acharya, who certainly has best job title in the entirety of the Googleplex: "Distinguished Engineer."

วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่8

Google Scholar กับ Prince of Songkhla U. (มี h)

Google scholar เป็นบริการที่ Google มีให้เพื่อการค้นหาว่า publications ได้รับ citations เท่าไร และ publications ใดบ้างที่อ้างอิง publication นั้นๆ ค่ะ

และในสูตรคำนวณของ Webometrics นั้น ให้น้ำหนักคะแนน Google scholar ไว้ที่ 15% ค่ะ

ตอนที่ที่ประชุม Webometrics กำลังหารือกันเรื่องวิธีการเพิ่มคะแนนในส่วนของ Google Scholar ดิฉันได้ลองค้นดูใน Google scholar โดยใช้คำว่า Prince of Songkla University และ Prince of Songkhla University ค่ะ

ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเมื่อพิมพ์ "Prince of Songkla University" แบบไม่มี h คือ 5,430 4,600 ค่ะ

และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเมื่อพิมพ์ "Prince of Songkhla University" แบบมี h คือ 2,870 526 ค่ะ

เราเสียคะแนนส่วน 2,870 ไปเฉยๆ เลยค่ะ เพราะเราพิมพ์ชื่อมหาวิทยาลัยผิดไปค่ะ

Big Typo แต่การพิมพ์ผิดไม่มีผลต่อการจัดอันดับของ Webometrics

วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่7

การสนับสนุนสำหรับสำนักพิมพ์ทางวิชาการ
Google และ Google Scholar สามารถเพิ่มการมองเห็นและการเข้าถึงเนื้อหาของคุณได้ทั่วโลก เราทำงานร่วมกับสำนักพิมพ์สำหรับข้อมูลวิชาการ เพื่อจัดทำดัชนีบทความ peer-reviewed วิทยานิพนธ์ ร่างบทความ บทคัดย่อ และรายงานทางเทคนิคจากการค้นคว้าวิจัยทุกสาขา และทำให้สามารถค้นหาได้บน Google และGoogle Scholar หน้านี้มีนโยบายและข้อมูลทางเทคนิคสำหรับสำนักพิมพ์และแวดวงวิชาการ

นโยบายของสำนักพิมพ์

มีการจัดกลุ่มเวอร์ชันต่างๆ ของผลงานหนึ่งชิ้นเพื่อทำให้อยู่ในอันดับที่สูงขึ้น ในการค้นคว้าวิจัยหลายสาขา เวอร์ชันต่างๆ ของผลงานหนึ่งชิ้นอาจปรากฏเป็นร่างบทความและบทความจากการประชุมก่อนที่จะได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความจากวารสาร เวอร์ชันเบื้องต้นของผลงานเหล่านี้มักมีการอ้างอิงถึงนอกเหนือจากเวอร์ชันวารสารที่เชื่อถือได้ จำนวนการอ้างอิงถึงผลงานหนึ่งๆ เป็นส่วนสำคัญในการกำหนดอันดับในผลการค้นหาของ Google Scholar เวอร์ชันที่มีการจัดกลุ่มทำให้เราสามารถเก็บรวบรวมการอ้างอิงทั้งหมดถึงผลงานทุกเวอร์ชัน ในทางปฏิบัติ สิ่งนี้สามารถปรับปรุงตำแหน่งของบทความในผลการค้นหาได้อย่างมาก
หากมีการจัดทำดัชนี ฉบับเต็มของสำนักพิมพ์ถือเป็นเวอร์ชันหลัก เมื่อมีการจัดทำดัชนีผลงานในเวอร์ชันต่างๆ เราจะเลือกฉบับเต็มที่เชื่อถือได้ จากสำนักพิมพ์เป็นเวอร์ชันหลัก เราจะทำสิ่งนี้ได้ต่อเมื่อเราสามารถระบุ รวบรวมข้อมูล และ ประมวลผลเวอร์ชันฉบับเต็มของสำนักพิมพ์’ได้สำเร็จ

สำนักพิมพ์มีอำนาจควบคุมการเข้าถึงบทความของตน เราทำงานร่วมกับสำนักพิมพ์เพื่อรักษาอำนาจควบคุมของสำนักพิมพ์เหนือการเข้าถึงเนื้อหาของตน และจะใช้แคชกับบทความที่ไม่มีการควบคุมการเข้าถึงเท่านั้น สำนักพิมพ์สามารถช่วยเหลือเราได้โดยระบุภูมิภาคของไซต์ที่มีการควบคุมการเข้าถึง สำหรับรายละเอียด โปรด คลิกที่นี่

ผู้ใช้ Google จะต้องได้รับบทคัดย่อที่สมบูรณ์หนึ่งรายการเป็นอย่างน้อย นี่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งในโปรแกรมการจัดทำดัชนีของเรา สำหรับบทความที่มีการจำกัดการเข้าถึง บทคัดย่อที่สมบูรณ์ที่เขียนโดยผู้เขียนจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกจากผลลัพธ์ได้ว่าบทความใดเป็นไปได้ที่จะมีข้อมูลที่ต้องการมากที่สุด

เราจะตอบกลับการร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ เรามีนโยบายในการ ตอบกลับต่อการแจ้งข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย Digital Millennium Copyright Act.

ส่งงาน การสืบค้นE-journals

E-journals

http://www.mediafire.com/?od86m9ck13301s8#1

ส่งงาน การสืบค้นE-book

ที่มา http://ebook.thailis.or.th/irweb/cgi-bin/irweb.exe?op=dig&lang=1&db=irmain&pat=Math&cat=tit&skin=j&lpp=50&catop=&scid=zzz&ref=T:@2883&nx=1

เนื้อหา http://202.28.199.34/multim/3121891.pdf
ที่มา http://ebook.thailis.or.th/irweb/cgi-bin/irweb.exe?op=dig&lang=0&db=irmain&pat=computer&cat=tit&skin=j&lpp=20&catop=&scid=zzz&ref=T:@1794&nx=1
ข้อความ http://202.28.199.34/multim/3103584.pdf

วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่6

Google Scholar เว็บสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่

จะว่าไปแล้วในปัจจุบันผู้ที่เรียนระดับปริญญาโทและเอกทุกมหาวิทยาลัย ในทุกระดับจะใช้เว็บ google.com เป็นทางผ่านในการสืบค้นข้อมูลต่างๆ ไปว่าจะเป็นเนื้อหาบทเรียน งานวิจัย บทความทางวิชาการ Google Scholar เป็นเว็บที่ทางทีมงานกูเกิ้ลสร้างมาเพื่อการนี้โดยเฉพาะ หากพูดง่ายๆ Google Scholar เป็นเว็บที่ใช้ค้นหางานเขียนทางวิชาการทั่วโลก โอ พระเจ้า มันจะทำได้จริงฤ กูเกิ้ลทำให้เราแปลกตาในหลายสิ่งแล้ว สิ่งที่เราคิดว่าทำไม่ได้ หรือหากทำได้ก็จะใช้ระยะเวลาอันยาวนาน แต่กูเกิ้ลก็สามารถทำได้ สังคมอินเทอร์เน็ตยุคใหม่ทำให้การดำรงชีวิตของผู้คนเปลี่ยนไป จากในอดีตมาก การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันเป็นสิงที่ดีที่สุด : )

คุณลักษณะของเด่นของ Google Scholar
- ค้นหา แหล่งข้อมูลที่หลากหลายจากจุดที่สะดวกจุดเดียว
- ค้นหา บทความ บทคัดย่อ และการอ้างอิง แบบ peer-reviewed และ Full paper
- ค้นหาตำแหน่ง ของบทความฉบับสมบูรณ์จากทั่วทั้งห้องสมุดของคุณหรือบนเว็บ
- เรียนรู้ เกี่ยวกับบทความสำคัญในการค้นคว้าวิจัยสาขาใดๆ


ที่มา

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่5

แนะนำ Google Scholar
เอามาจาก Webboard ไผ่สิงโต มีรุ่นน้องเอา Web Google ที่ใช้ค้น Paper โดยเฉพาะ เรืยกว่า Google Scholar ลองไปใช้ดูแล้วดีมาก ๆ ได้ข้อมูลจาก Journal แปลก ๆ เยอะดี ข้อดีกว่า Pubmed คือเข้าไปอ่าน Full Paper ได้และหลากหลายกว่า Pubmed ขนาด Journal ท้องถิ่น ถ้ามี Website อยู่ก็ไป search ได้

ครั้งหน้าถ้าต้องทำ presentation ลองใช้ search engine ตัวนี้ พิมพ์ Keyword แล้วเว้น ตามด้วย ppt จะทำให้งาน present เร็วขึ้นมาก เพราะอะไรลองถาม Dua ดู

กูเกิล สกอลาร์” เสิร์ชใหม่ เอาใจนักวิทยาศาสตร์

โดย ผู้จัดการออนไลน์ 20 พฤศจิกายน 2547 16:16 น.
เนเจอร์- “กูเกิล” เปิดตัวระบบเสิร์ชเฉพาะทางฉบับทดลอง สำหรับนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการที่ต้องการหาบทความ งานวิจัยทางวิชาการชนิดละเอียดยิบ โดยคัดเลือกเฉพาะลิงค์มีคุณภาพ จากแหล่งที่เชื่อถือได้ทางวิชาการ รองรับความต้องการของเหล่าผู้รอบรู้โดยเฉพาะ

“กูเกิล” (google.com) เว็บไซต์บริการค้นหาข้อมูล หรือเสิร์ช เอนจิน (search engine) อันดับหนึ่งของโลก ได้เปิดตัว “กูเกิล สกอลาร์” (google scholar) ฉบับทดลอง (เบตา) ออกให้ใช้ฟรี เพื่อช่วยค้นหาบทความ งานวิจัยทางวิชาการทั้งหลายแบบเจาะลึกครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ผ่านที่อยู่ หรือ ยูอาร์แอล http://scholar.google.com ซึ่งหวังว่านักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการจะสามารถค้นหาข้อมูลเฉพาะทางได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น

ยกตัวอย่างเช่นในการค้นหาวลีอย่าง “ฮิวแมน จีโนม” (human genome) ปกติแล้วกูเกิลธรรมดาจะแสดงผลเว็บที่เกี่ยวกับศูนย์พันธุกรรมต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงฐานข้อมูลและเว็บไซต์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมทั่วโลก ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะมีประมาณ 450,000 รายการหรือมากกว่านั้น แต่กูเกิลสกอลาร์จะแสดงผลการค้นหาออกมาเพียงแค่ 113,000 รายการ และสิ่งที่พบก็ไม่ใช่เว็บไซต์ แต่เป็นผลงานการวิจัยในการสัมมนาต่างๆ เช่น รายการแรกที่พบเป็นบทความเรื่อง “อินนิเทียล ซีเควนซิง แอนด์ อนาไลซิส ออฟ เดอะ ฮิวแมน จีโนม” (Initial sequencing and anslysis of the human genome) ขณะที่กูเกิลเวอร์ชันปกติก็จะนำลิงค์องค์กรที่เกี่ยวข้องขึ้นมาให้ เป็นต้น

เซอร์เกย์ บริน (Sergey Brin) ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์กูเกิล เปิดเผยว่า ข้อมูลที่ค้นพบจะถูกจัดลำดับ โดยเรียงตามความสำคัญของลิงค์ที่มาของเอกสารชิ้นนั้นๆ ซึ่งไม่ได้มุ่งมองที่การค้นหาจำนวนลิงค์มาให้ได้มากที่สุด แต่มองกันที่คุณภาพของลิงค์ที่จะนำมาแสดงผล เช่น ลิงค์จากเว็บไซต์ของวารสารเนเจอร์ (Nature) ซึ่งตีพิมพ์บทความทางวิชาการด้านชีววิทยาชื่อดัง ย่อมจะมีความสำคัญมากกว่าลิงค์จากเว็บส่วนตัวของใครคนใดคนหนึ่ง
แนะนำ Google Scholar
สำหรับเครื่องมือพื้นฐานของเจ้าสกอลาร์นี้มีหลักการคล้ายกับการค้นหาของเว็บกูเกิล ซึ่งเป็นการอ้างอิงข้อมูลที่ปรากฏบนหน้าเว็บไซต์อย่างมีขั้นตอน และเป็นแผนที่จะนำไปใช้ประโยชน์ระหว่างข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ ซึ่งหน้าเว็บนั้นจะถูกเชื่อมต่อโดยพิจารณาจากความสำคัญและจำนวนผู้ใช้สูงสุดในการตอบรับการค้นหา

โดยรูปแบบแล้วกูเกิล สกอลาร์จะทำการค้นหาโดยมองลึกลงไปถึงรายละเอียดของเนื้อหาและรูปแบบ เรียกได้ว่าดูทุกๆ หน้าของงานวิจัยชิ้นนั้นว่าเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เราต้องการหรือไม่ ซึ่งแตกต่างจากการค้นหาแบบเก่าที่ปกติจะค้นหาแค่เพียงหัวข้อของงาน หากมีคำหรือวลีที่ตรงกับคำที่ระบุไว้ก็จะดึงมาเป็นลิงค์ ทั้งที่อาจจะไม่ใช่เรื่องนั้นเลย

ส่วนฐานข้อมูลในการค้นหาของ “กูเกิล สกอลาร์” ฉบับทดลองนั้นได้ใช้ข้อมูลอ้างอิงจากสำนักพิมพ์ต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มสำนักพิมพ์ของเนเจอร์ (Nature Publishing Group) สมาคมเครื่องกลและคอมพิวเตอร์ (the Association for Computing Machinery) และสถาบันไฟฟ้า (the Institute of Electrical) รวมถึงวิศวกรไฟฟ้า (Electronics Engineers) ซึ่งรวมอยู่ในระบบค้นหาที่เรียกว่า ครอสเรฟ เซิร์ช (CrossRef Search)

นอกจากนี้ เมื่อผู้ใช้กูเกิลสำหรับนักวิจัยได้ค้นหาบทความต่างๆ ทางกูเกิลก็ค้นหาโดยละเอียดตามแหล่งข้อมูลที่กล่าวข้างต้น โดยเปิดให้ผู้ค้นหาได้คลิกกลับไปที่ไซต์เจ้าของบทความนั้นๆ ซึ่งถ้าหากเว็บนั้นๆ กันไว้เป็นบทความเฉพาะสำหรับสมาชิก ก็จะเปิดอ่านได้หากสมัครสมาชิกของเว็บไซต์นั้นๆ ไว้ แต่ถ้าไม่ ก็จะมีเงื่อนไขในการสมัครสมาชิกหรือจะได้อ่านส่วนสรุปของบทความ
http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9470000084855
ที่มา

วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่4

ค้นหาบทความทางการศึกษาด้วย Google Scholar
เมื่อพูดถึง Google ทุกท่านคงรู้จักดี ซึ่งระยะหลัง Google ออกบริการใหม่ๆ มาหลายอย่าง และเป็นรู้จักกันดี อาทิ iGoogle, อีเมลของ Google (Gmail), google map เป็นต้น แต่มีอีกบริการหนึ่งที่หลายท่านอาจยังไม่รู้จัก หรือยังไม่เคยใช้บริการ คือ Google Scholar ซึ่งเป็นบริการเว็บสืบค้นงานเขียน และสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ (Web search engine) ที่น่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ต้องการค้นหาข้อมูลทางวิชาการ โดยเฉพาะนักศึกษา

ความจริง Google Scholar เป็นบริการที่มีมานานแล้ว ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2547 โดยออกเป็น beta version และทุกวันนี้ก็ยังคงเป็น beta อยู่ และอาจเพราะเป็นบริการที่ออกมานานแล้วเลยทำให้เป็นบริการที่ไม่เป็นที่รู้จักของหลายๆ ท่าน

บางครั้งที่เราค้นหาข้อมูลด้วยเว็บ Google (www.google.co.th) จะพบว่าผลการค้นแสดงว่าพบ บทความทางการศึกษาซึ่งโดยปกติเราอาจจะไม่ได้สังเกตเห็น หรืออาจเห็นแต่ไม่ได้ให้ความสนใจนัก แต่เมื่อคลิกเข้าไปที่ บทความทางการศึกษาจะเข้าไปสู่เว็บ Google Scholar (scholar.google.co.th)



ตัวอย่างผลการค้นหา เมื่อพบรายการหนังสือที่เกี่ยวข้องและเชี่อมโยงไปอีกบริการหนึ่งของ Google คือ Google Books (books.google.com) *กรณีตัวอย่างนี้ มีตัวอย่างให้อ่านบางส่วน


ตัวอย่างผลการค้นหา เป็นเอกสารภาษาไทยก็มี *กรณีตัวอย่างนี้ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้บริการดาวน์โหลดวิทยานิพนธ์ทั้งเล่มได้เลย


ข้อมูลจาก http://scholar.google.co.th และ http://en.wikipedia.org/wiki/Google_Scholar

ที่มา รายละเอียด



ส่งใบงานสืบค้นOPAC

คลิ๊กที่นี่ค่ะ

วันพุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่3

ข้อกำหนด

Google Scholar allows users to search for digital or physical copies of articles, whether online or in libraries. [ 4 ] Google Scholar is relatively quick and easy to use. Google Scholar ให้ผู้ใช้สามารถค้นหาหรือทางสำเนาดิจิตอลของบทความว่าออนไลน์หรือในห้องสมุด [4] Google Scholar มีความรวดเร็วและใช้งานง่าย “Scholarly” searches will appear using the references from “'full-text journal articles, technical reports, preprints, theses , books, and other documents, including selected Web pages that are deemed to be “scholarly.'” [ 5 ] Because most of Google Scholar's search results link directly to commercial journal articles, a majority of the time users will only be able to access a brief summary of the articles topics, as well as small amounts of important information regarding the article, and possibly have to pay a fee to access the entire article. [ 5 ] Google Scholar is as easy to use as with the regular Google web search, especially with the helpfulness of the "advanced search" option, which can automatically narrow search results to a specific journal or article. [ 6 ] The most relevant results for the searched keywords will be listed first, in order of the author's ranking, the number of references that are linked to it and their relevance to other scholarly literature, and the ranking of the publication that the journal appears in. [ 7 ] "ค้นหา"วิชาการจะปรากฏโดยอ้างอิงจาก'ข้อความเต็มบทความวารสารรายงานทางเทคนิค preprints, วิทยานิพนธ์ หนังสือและเอกสารอื่น ๆ รวมถึงหน้าเว็บที่เลือกที่จะถือว่าเป็น"นักวิชาการ . '" [5] เพราะที่สุด ของ Google Scholar ผลการค้นหาการเชื่อมโยงโดยตรงกับบทความในวารสารวิชาการพาณิชย์ส่วนใหญ่ใช้เวลาที่จะสามารถเข้าถึงข้อมูลสรุปโดยย่อของหัวข้อบทความเป็นจำนวนน้อยข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับบทความและอาจจะต้องจ่าย ค่าธรรมเนียมในการเข้าถึงบทความทั้งหมด [5] Google Scholar จะเป็นเรื่องง่ายที่จะใช้เป็นปกติกับการค้นหาเว็บของ Google โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบทความเอื้ออาทรของสูง"การค้นหา"ตัวเลือกที่สามารถ จำกัด ผลลัพธ์การค้นหาโดยอัตโนมัติเพื่อระบุหรือบันทึก [6] ผลที่เกี่ยวข้องมากที่สุดสำหรับคำหลักที่ค้นหาจะแสดงครั้งแรกในลำดับการจัดอันดับของผู้เขียนจำนวนการอ้างอิงที่เชื่อมโยงกับมันและความเกี่ยวข้องของพวกเขาวรรณคดีวิชาการอื่น ๆ และการจัดอันดับของสิ่งพิมพ์ที่บันทึกจะปรากฏขึ้น ระบบ ] [7

Using its "group of" feature, it shows the available links to journal articles. โดยใช้กลุ่ม"ของคุณลักษณะ"จะแสดงลิงค์ที่สามารถใช้ได้กับบทความในวารสารวิชาการ In the 2005 version, this feature provided a link to both subscription-access versions of an article and to free full-text versions of articles; for most of 2006, it provided links to only the publishers' versions. ในปี 2005 รุ่นคุณลักษณะนี้ให้เชื่อมโยงไปทั้งรุ่นสมัครเข้าของบทความและฟรีฉบับเต็มของบทความ; สำหรับส่วนมากของปี 2006 จะให้เชื่อมโยงไปยังรุ่นเท่านั้นเผยแพร่' Since December 2006, it has provided links to both published versions and major open access repositories , but still does not cover those posted on individual faculty web pages; [ citation needed ] access to such self-archived non-subscription versions is now provided by a link to Google , where one can find such open access articles. ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2006 ได้ให้การเชื่อมโยงไปเผยแพร่และรุ่นใหญ่เข้าเปิด repositories แต่ยังไม่ครอบคลุมผู้ที่โพสต์ในหน้าเว็บคณะบุคคล; [ อ้างจำเป็น ] เข้าถึงเช่น ตัวเก็บ - สมัครรุ่นที่ไม่สามารถให้บริการนี้โดย เชื่อมโยงไปยัง Google ที่สามารถพบเช่น ใช้เปิด บทความ

ที่มา

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่2

ประวัติ

Google Scholar arose out of a discussion between Alex Verstak and Anurag Acharya , both of whom were then working on building Google's main web index. [ 1 ] [ 2 ] Google Scholar เกิดขึ้นจากการสนทนาระหว่าง Alex Verstak และ Anurag Acharya ทั้งสองนั้นเป็นผู้ที่ทำงานในอาคารหลัก web ดัชนีของ Google [1] [2]

In 2006, in response to release of Microsoft's Windows Live Academic Search, a potential competitor for Google Scholar, a citation importing feature was implemented using bibliography managers (such as RefWorks , RefMan , EndNote , and BibTeX ). ในปี 2006 เพื่อตอบสนองปล่อยของ Microsoft Windows Live Academic Search เป็นคู่แข่งที่มีศักยภาพสำหรับ Google Scholar, คุณลักษณะอ้างอิงการนำเข้าได้ดำเนินการโดยใช้ ผู้จัดการบรรณานุกรม (เช่น RefWorks , RefMan , EndNote และ BibTeX ) Similar features are also part of other search engines, such as CiteSeer and Scirus . คุณสมบัติคล้ายกันเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือค้นหาอื่น ๆ เช่น CiteSeer และ Scirus

In 2007, Acharya announced that Google Scholar had started a program to digitize and host journal articles in agreement with their publishers, an effort separate from Google Books , whose scans of older journals do not include the metadata required for identifying specific articles in specific issues. [ 3 ] In 2007, Acharya ประกาศว่า Google Scholar ได้เริ่มต้นจากโปรแกรมรูปแบบดิจิทัลและวารสาร host บทความในข้อตกลงแยกต่างหากกับความพยายามเผยแพร่ Google Books , ที่สแกนวารสารเก่าไม่รวมปัญหา metadata ต้องระบุในบทความระบุเฉพาะ

ที่มา

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่1

Google Scholar คืออะไร
Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้อย่างกว้างขวาง คุณสามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว: บทความ peer-reviewed วิทยานิพนธ์ หนังสือ บทคัดย่อ และบทความจากสำนักพิมพ์ทางวิชาการ แวดวงวิชาชีพ ที่เก็บร่างบทความ มหาวิทยาลัย และองค์กรด้านการศึกษาอื่นๆ Google Scholar ช่วยให้คุณสามารถระบุการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องมากที่สุดในโลกแห่งการค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ

คุณลักษณะของ Google Scholar

  • ค้นหา แหล่งข้อมูลที่หลากหลายจากจุดที่สะดวกจุดเดียว
  • ค้นหา บทความ บทคัดย่อ และการอ้างอิง
  • ค้นหาตำแหน่ง ของบทความฉบับสมบูรณ์จากทั่วทั้งห้องสมุดของคุณหรือบนเว็บ
  • เรียนรู้ เกี่ยวกับบทความสำคัญในการค้นคว้าวิจัยสาขาใดๆ

บทความมีการจัดอันดับอย่างไร
Google Scholar มุ่งมั่นที่จะจำแนกบทความแบบนักวิจัย โดยวัดน้ำหนักจากข้อความทั้งหมดของแต่ละบทความ ผู้เขียน สิ่งตีพิมพ์ที่บทความนั้นปรากฏ และความถี่ที่มีการอ้างอิงบทความนั้นในงานเขียนทางวิชาการอื่น ผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องมากที่สุดจะปรากฏบนหน้าแรกเสมอ

ที่มา

วันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ลาบทะเล


"ลาบทะเล" อาหารประยุกต์ที่มีต้นตำรับจากลาบหมูแบบอีสาน ลาบจานนี้ให้พลังงานต่ำ เพราะในส่วนผสมไม่มีไขมัน น้ำมัน แต่ต้องเลือกเนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน และต้องมีผักเป็นส่วนประกอบมากๆ เพื่อให้อิ่มด้วยผักและข้าว

การลดน้ำหนักไม่ควรงดข้าว ในอาหารประเภทข้าวจะให้คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่ทำให้ระบบต่างๆ ในร่างกายทำงานตามปกติ ข้าวในที่นี้ควรเป็นข้าวซ้อมมือหรือข้าวกล้อง เพราะมีเส้นใยและแร่ธาตุต่างๆ มากกว่าข้าวขาว การลดน้ำหนักแบบนี้ได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน จึงไม่มีผลข้างเคียงที่ต้องทำให้เป็นโรคอื่นๆ ตามมาอย่างแน่นอน

อาหารลดน้ำหนักควรใช้เนื้อสัตว์เพียง 1 ใน 3 ของผักทั้งหมด ไขมันก็ต้องมีเล็กน้อย เพราะไขมันต้องใช้ในการละลายวิตามินบางตัว และให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าสูตรใดใช้เนื้อสัตว์ที่มีไขมันแทรกอยู่ในกล้ามเนื้อ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ บางครั้งไม่จำเป็นต้องใช้ไขมันในการปรุงอาหารเลย และอาหารไม่ควรใส่น้ำตาล ควรใช้ความหวานจากรสอาหารธรรมชาติจะดีกว่า

เครื่องปรุง

หอยแมลงภู่ลวกแกะเอาแต่เนื้อ 20 กรัม
กุ้งชีแฮ้ลวกแกะเปลือก 30 กรัม
ปลาหมึกบั้งตาตารางหั่นชิ้นพอคำลวก 30 กรัม
เนื้อปลาน้ำดอกไม้หั่นชิ้นพอคำลวก 30 กรัม
หอยแครงลวกแกะเอาแต่เนื้อ 20 กรัม
ต้นหอมซอย 2 ช้อนโต๊ะ
ผักชีฝรั่งซอย 1 ช้อนโต๊ะ
สะระแหน่เด็ดเป็นใบ 2 ช้อนโต๊ะ
ข่าเผาสับละเอียด 1 ช้อนชา
ข้าวคั่ว 1 ช้อนโต๊ะ
พริกป่น 1 1/2 ช้อนชา
น้ำปลา 2 ช้อนชา
น้ำมะนาว 2 ช้อนชา

วิธีทำ

1. ใส่หอยแมลงภู่ กุ้ง ปลาหมึก เนื้อปลา หอยแครง ลงในอ่างผสม ใส่น้ำปลา น้ำมะนาว พริกป่น ข้าวคั่ว เคล้าให้เข้ากัน
2. ใส่หอมแดง ต้นหอม ผักชีฝรั่ง ข่า ใบสะระแหน่ครึ่งหนึ่ง เคล้าเบาๆ ระวังอย่าให้ผักช้ำ
3. ตักใส่จาน โรยด้วยใบระระแหน่ที่เหลือ รับประทานกับผักสดตามชอบ




























































หอยแมลงภู่ลวกแกะเอาแต่เนื้อ 20 กรัม
กุ้งชีแฮ้ลวกแกะเปลือก 30 กรัม
ปลาหมึกบั้งตาตารางหั่นชิ้นพอคำลวก 30 กรัม
เนื้อปลาน้ำดอกไม้หั่นชิ้นพอคำลวก 30 กรัม
หอยแครงลวกแกะเอาแต่เนื้อ 20 กรัม
ต้นหอมซอย 2 ช้อนโต๊ะ
ผักชีฝรั่งซอย 1 ช้อนโต๊ะ
สะระแหน่เด็ดเป็นใบ 2 ช้อนโต๊ะ
ข่าเผาสับละเอียด 1 ช้อนชา
ข้าวคั่ว 1 ช้อนโต๊ะ
พริกป่น 1 1/2 ช้อนชา
น้ำปลา 2 ช้อนชา
น้ำมะนาว 2 ช้อนชา


วิธีทำ

1. ใส่หอยแมลงภู่ กุ้ง ปลาหมึก เนื้อปลา หอยแครง ลงในอ่างผสม ใส่น้ำปลา น้ำมะนาว พริกป่น ข้าวคั่ว เคล้าให้เข้ากัน
2. ใส่หอมแดง ต้นหอม ผักชีฝรั่ง ข่า ใบสะระแหน่ครึ่งหนึ่ง เคล้าเบาๆ ระวังอย่าให้ผักช้ำ
3. ตักใส่จาน โรยด้วยใบระระแหน่ที่เหลือ รับประทานกับผักสดตามชอบ